ผศ.ดร.นพ.พีรยุทธ เฟื่องฟุ้ง

ผศ.ดร.นพ.พีรยุทธ เฟื่องฟุ้ง
นิติเวชศาสตร์

ผศ.ดร.นพ. พีรยุทธ เฟื่องฟุ้ง

Assist. Prof. Dr. Peerayuht Phuangphung
Specialty
  • นิติเวชศาสตร์ Forensic Medicine

Language Spoken
  • อังกฤษ, ไทย

ปริญญาบัตรและสถาบันการศึกษา
  • ปริญญาบัตร  แพทยศาสตรบัณฑิต (พ.บ.) (เกียรตินิยม) คณะแพทยศาสตร์  มหาวิทยาลัยมหิดล
  • ปริญญาบัตร ทางนิติศาสตร์ สาขาวิชานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
  • ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก (วิชาเอกนิติเวชศาสตร์)
  • วุฒิบัตร สาขานิติเวชศาสตร์  มหาวิทยาลัยมหิดล
    • Ph.D. (Toxicology) University of Glasgow, UK
      M.Sc. (Forensic Toxicology) (Distinction) University of Glasgow, UK

    ตารางออกตรวจ
    วัน เวลา หมายเหตุ
    MON 18:00 - 20:00

    นพ.ชุมพล สุรพันธ์ไพโรจน์

    นพ.ชุมพล สุรพันธ์ไพโรจน์
    จิตแพทย์

    นพ.ชุมพล สุรพันธ์ไพโรจน์

    CHUMPOL SURAPHANPHAIROJ.M.D
    Specialty
    • จิตเวชศาสตร์
      จิตเวชทั่วไปในผู้ป่วยผู้ใหญ่ (General Psychiatry)

    Language Spoken
    • อังกฤษ, ไทย

    ปริญญาบัตรและสถาบันการศึกษา
    • ปริญญาบัตร แพทยศาสตรบัณฑิต (พ.บ.) (เกียรตินิยมอันดับ 1) คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย   
    • วุฒิบัตรสาขาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ ราชวิทยาลัยจิตแพทย์แห่งประเทศไทย

    ตารางออกตรวจ
    วัน เวลา
    TUE 17:00 - 20:00

    ตรวจคัดกรองความเสี่ยงหลอดเลือดสมอง

    ตรวจคัดกรองความเสี่ยงหลอดเลือดสมอง

    MRI and MRA Brain Screening

    ตรวจคัดกรองความเสี่ยงหลอดเลือดสมอง : 10,100.-

    MRI and MRA Brain Screening


    ตรวจสุขภาพ 13 รายการ

    ผู้ที่มีความเสี่ยงโรค
    ความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูง ความอ้วน โรคหัวใจ อายุที่มากขึ้น ภาวะหยุดหายใจขณะหลับ บุหรี่ แอลกอฮอล์ โคเคน แอมเฟตามีน การดำเนินชีวิต ที่ไม่ค่อยมีการเคลื่อนที่ หรือออกกำลังกาย

    ตรวจคัดกรองความเสี่ยงหลอดเลือดสมอง

    MRI and MRA Brain Screening
    โรคหลอดเลือดสมอง (stroke)
    โรคหลอดเลือดสมอง (stroke) คือ ภาวะที่เลือดไม่สามารถไหลเวียนไปเลี้ยงสมองได้ ทำให้สมองขาดเลือดและออกซิเจน ไปเลี้ยงเนื่องจากหลอดเลือดตีบ หลอดเลือดอุดตัน หรือหลอดเลือดแตก ส่งผลให้เนื้อเยื่อในสมองถูกทำลาย การทำงานของสมองหยุดชะงัก หากไม่ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงทีจะทำให้เซลล์สมองค่อย ๆ ตายลง
    ปัจจัยเสี่ยงของโรคหลอดเลือดสมอง
    • ความดันโลหิตสูง
    • เบาหวาน
    • ไขมันในเลือดสูง
    • ความอ้วน
    • โรคหัวใจ
    • อายุที่มากขึ้น
    • ภาวะหยุดหายใจขณะหลับ
    • บุหรี่
    • แอลกอฮอล์
    • โคเคน
    • แอมเฟตามีน
    • การดำเนินชีวิต
    • ที่ไม่ค่อยมีการเคลื่อนที่หรือออกกำลังกาย
    สามารถตรวจได้โดย การตรวจสมองด้วยเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (CT Scan) หรือ การตรวจสมองด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI Scan) การตรวจ CT Scan จะช่วยวินิจฉัยแยกโรคสมองขาดเลือดกับโรคเลือดออกในสมองได้ โดยที่ใช้เวลาในการทำน้อยกว่า MRI Scan ทำให้ผู้ป่วยได้รับการรักษาที่รวดเร็ว ส่วนการตรวจ MRI Scan จะมีความไวในการตรวจสมองขาดเลือดในระยะแรกๆ มากกว่าการทำ CT Scan และสามารถช่วยวินิจฉัยแยกโรคสมองขาดเลือดกับโรคเลือดออกในสมองได้เช่นกัน
    การคัดกอรงความเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองสิ่งจำเป็น เพื่อสำรวจความผิดปกติ หรือมีความบกพร่องของสมอง เพื่อจะได้รักษา ป้องกัน หรือ ผ่อนหนักให้เป็นเบา หากมีการดูแลอย่างดี ตรวจสอบหาข้อบกพร่อง และแก้ไขแต่ระยะต้นๆ ร่างกายก็จะอยู่กับเราได้นานขึ้น และมีคุณภาพชีวิตที่ดี
    โปรแกรมตรวจคัดกรองความเสี่ยงหลอดเลือดสมอง
    ตรวจร่างกายทั่วไปโดยอายุรแพทย์ระบบประสาทและสมอง
    Physical Examination
    ตรวจวัดความดันโลหิต, ชีพจร
    BP, Pulse
    ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด
    CBC
    ตรวจหาระดับน้ำตาลในเลือด
    FBS
    ตรวจหาระดับน้ำตาลสะสมในเลือด
    HbA1C
    ตรวจสมรรถภาพการทำงานของตับ
    SGPT
    ตรวจสมรรถภาพการทำงานของไต
    Creatinine
    ตรวจหาระดับไขมันในเลือด
    Cholesterol
    ตรวจหาระดับไขมันในเลือด
    Triglyceride
    ตรวจหาระดับไขมันชนิดดีในเลือด
    HDL
    ตรวจหาระดับไขมันชนิดไม่ดีในเลือด
    LDL
    ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
    Electrocardiogram (EKG)
    ตรวจหลอดเลือดสมองด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
    MRI and MRA Brain Screening
    10,100.-
    เงื่อนไขการใช้บริการ
    • รวมค่าแพทย์และค่่าบริการ
    • กรุณางดน้ำและอาหารอย่างน้อย 10 - 12 ชั่วโมง ก่อนเข้ารับการตรวจ
    วันนี้ - 31 มีนาคม 2568

    โปรแกรมและแพ็คเกจ

    นพ.เหรียญชัย นามมนตรี

    นพ.เหรียญชัย นามมนตรี
    ศัลยแพทย์กระดูกและข้อ

    นพ.เหรียญชัย นามมนตรี

    RIANCHAI NAMMONTREE , M.D.
    Specialty
    • ศัลยกรรมกระดูกและข้อ

    Language Spoken
    • อังกฤษ, ไทย

    ปริญญาบัตรและสถาบันการศึกษา
    • แพทยศาสตรบัณฑิต (พ.บ.) คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
    • วุฒิบัตรศัลยศาตร์ออร์โอปิดิกส์ สถาบันราชวิถี กรมการแพทย์

    ตารางออกตรวจ
    วัน เวลา
    SUN 13:00 - 16:00

    นพ.เลอสรรพ์ ลือสุทธิวิบูลย์

    นพ.เลอสรรพ์ ลือสุทธิวิบูลย์
    อายุรแพทย์โรคไต

    นพ.เลอสรรพ์ ลือสุทธิวิบูลย์

    LERSAN LUESUTTHIVIBOON, M.D.
    Specialty
    • อายุรแพทย์โรคไต Nephrology

    Language Spoken
    • อังกฤษ, ไทย

    ปริญญาบัตรและสถาบันการศึกษา
    • ปริญญาบัตร แพทยศาสตรบัณฑิต (พ.บ.) คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
    • วุฒิบัตร สาขาอายุรศาสตร์  คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า
    • วุฒิบัตรสาขาอายุรศาสตร์โรคไต คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า

    ตารางออกตรวจ
    วัน เวลา
    SUN 10:00 - 12:00

    การเสียชีวิตกะทันหันจากโรคหัวใจในนักกีฬาวัยรุ่น

    การเสียชีวิตกะทันหันจากโรคหัวใจในนักกีฬาวัยรุ่น

    การเสียชีวิตกะทันหันจากโรคหัวใจในนักกีฬาวัยรุ่น
    การเสียชีวิตกะทันหันจากโรคหัวใจเป็นภาวะที่หัวใจหยุดเต้นกะทันหันซึ่งเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วและไม่คาดคิด การหายใจและการไหลเวียนของเลือดหยุดลงทันที ภายในไม่กี่วินาที ผู้ป่วยจะหมดสติและเสียชีวิต
    การเสียชีวิตกะทันหันจากโรคหัวใจในผู้ที่ดูเหมือนมีสุขภาพดีและมีอายุต่ำกว่า 35 ปีนั้นพบได้น้อย โดยพบได้บ่อยในผู้ชายมากกว่าผู้หญิง ส่วนมากเกิดจากโรคหัวใจที่ไม่ได้รับการวินิจฉัย เช่น โรคกล้ามเนื้อหัวใจห้องล่างซ้ายหนาตัวหรือหัวใจเต้นผิดจังหวะ ทางพันธุกรรม ซึ่งอาจทำให้คนหนุ่มสาวเสียชีวิตกะทันหันระหว่างทำกิจกรรมที่ต้องใช้แรง เช่น การแข่งขันกีฬา แต่การเสียชีวิตกะทันหันก็อาจเกิดขึ้นได้แม้ขณะที่พักหลับ
    ภาวะหัวใจหยุดเต้นเฉียบพลันพบได้บ่อยเพียงใดในวัยรุ่น
    ภาวะหัวใจหยุดเต้นเฉียบพลันส่วนใหญ่มักเกิดขึ้นในผู้สูงอายุ โดยเฉพาะผู้ที่มีโรคหัวใจ อย่างไรก็ตามภาวะหัวใจหยุดเต้นเฉียบพลันเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับต้นๆ ของนักกีฬาวัยรุ่น ในแต่ละปีมีนักกีฬาวัยรุ่นประมาณ 1 ใน 50,000-100,000 คน เสียชีวิตจากภาวะหัวใจหยุดเต้นเฉียบพลัน
    อะไรเป็นสาเหตุของภาวะหัวใจหยุดเต้นเฉียบพลันในวัยรุ่น
    การเปลี่ยนแปลงของคลื่นไฟฟ้าหัวใจมักทำให้เกิดภาวะหัวใจหยุดเต้นเฉียบพลัน การเต้นของหัวใจที่เร็วมากทำให้ห้องหัวใจด้านล่างบีบตัวอย่างรวดเร็วและไม่ประสานกัน หัวใจไม่สามารถสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงร่างกายได้ ภาวะหัวใจห้องล่างเต้นผิดจังหวะเป็นอันตรายถึงชีวิต ภาวะที่หัวใจทำงานหนักเกินไปหรือมีการทำลายเนื้อเยื่อหัวใจอาจเพิ่มความเสี่ยงต่อภาวะหัวใจหยุดเต้นเฉียบพลันได้
    โรคที่อาจเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตจากภาวะหัวใจหยุดเต้นเฉียบพลันในวัยรุ่น ได้แก่:
    • โรคกล้ามเนื้อหัวใจหนาผิดปกติ ภาวะทางพันธุกรรมนี้เป็นสาเหตุที่พบบ่อยที่สุดของการเสียชีวิตจากภาวะหัวใจหยุดเต้นเฉียบพลันในวัยรุ่น การหนาขึ้นนี้ทำให้หัวใจสูบฉีดเลือดได้ยาก
    • กลุ่มอาการ QT ยาวแต่กำเนิด ภาวะนี้อาจทำให้หัวใจเต้นเร็วและผิดจังหวะ นำมาซึ่งอาการเป็นลมโดยไม่ทราบสาเหตุและการเสียชีวิตกะทันหัน โดยเฉพาะในคนอายุน้อย
    • ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะอื่นๆ เช่น กลุ่มอาการบรูกาดา และกลุ่มอาการวูล์ฟ-พาร์กินสัน-ไวท์
    • การถูกกระแทกที่หน้าอกอย่างรุนแรง การบาดเจ็บที่หน้าอกจากของแข็งซึ่งทำให้เกิดการเสียชีวิตจากภาวะหัวใจหยุด เต้นเฉียบพลัน เรียกว่า commotio cordis ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะอาจเกิดขึ้นในนักกีฬาที่ถูกอุปกรณ์กีฬา หรือผู้เล่นคนอื่นกระแทกเข้าที่หน้าอกอย่างแรง
    การเสียชีวิตกะทันหันในวัยรุ่นสามารถป้องกันได้หรือไม่
    1. ควรเล่นกีฬาในศูนย์กีฬามาตรฐานที่มีเครื่องกระตุ้นหัวใจไฟฟ้าอัตโนมัติ (AED) เผื่อเหตุการณ์ฉุกเฉิน หากมีอาการหรือภาวะดังกล่าวข้างต้น
    2. แนะนำให้เข้ารับการตรวจคัดกรองที่แผนกอายุรกรรมเฉพาะทางโรคหัวใจ เพื่อตรวจหาโรคหัวใจที่อาจทำให้เกิดภาวะหัวใจหยุดเต้นเฉียบพลันได้
    ใครควรได้รับการตรวจคัดกรอง
    ผู้ที่มีอาการหรือภาวะต่างๆดังต่อไปนี้
    1. เป็นลม/หมดสติ โดยเฉพาะเมื่อเกิดขึ้นระหว่างทำกิจกรรมหรือออกกำลังกาย
    2. เจ็บหน้าอก
    3. มีประวัติครอบครัวเกิดภาวะหัวใจหยุดเต้นเฉียบพลัน

    โปรแกรมและแพ็คเกจ

    พญ.ภัสสร โชคสมนึก

    พญ.ภัคทิพา ภัทรโกศล
    อายุรกรรมโรคเลือด

    พญ.ภัสสร โชคสมนึก

    PHATSORN CHOKSOMNUK, M.D.
    Specialty
    • อายุรศาสตร์โลหิตวิทยา

    Language Spoken
    • อังกฤษ, ไทย

    ปริญญาบัตรและสถาบันการศึกษา
    • แพทยศาสตร์บัณฑิต (พ.บ.) คณะแพทยศาสตร์  มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์
    • วุฒิบัตร อายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
    • วว.อายุรศาสตร์โลหิตวิทยา คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหววิทยาลัยมหิดล

    ตารางออกตรวจ
    วัน เวลา
    SUN 09:00 - 12:00

    พญ.รตณัฐ เหมินทร์

    พญ.รตณัฐ เหมินทร์
    อายุรแพทย์ระบบประสาทและสมอง

    พญ.รตณัฐ เหมินทร์

    RATANUT HAMINDRA M.D.
    Specialty
    • Neurologist
    • สมองเสื่อม พาร์กินสัน โรคลมชัก โรคหลอดเลือดสมอง

    Language Spoken
    • อังกฤษ, ไทย

    ปริญญาบัตรและสถาบันการศึกษา
    • แพทยศาสตรบัณฑิต (พ.บ.) คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
    • วุฒิบัตร อายรุศาสตร์ สาขาประสาทวิทยา โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์

    ตารางออกตรวจ
    วัน เวลา
    FRI 17:00 - 20:00 

    พญ.กัญญ์วรา ชัยเบญจพล

    พญ.กัญญ์วรา ชัยเบญจพล
    อายุรแพทย์ระบบประสาทและสมอง

    พญ.กัญญ์วรา ชัยเบญจพล

    KANVARA CHAIBENJAPOL M.D.
    Specialty
    • Neurologist
    • สมองเสื่อม พาร์กินสัน โรคลมชัก

    Language Spoken
    • อังกฤษ, ไทย

    ปริญญาบัตรและสถาบันการศึกษา
    • แพทยศาสตรบัณฑิต (พ.บ.) (เกียรตินิยมอันดับ 2) คณะแพทยศาสตร์ วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า
    • วุฒิบัตร อายรุศาสตร์ สาขาประสาทวิทยา โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า

    ตารางออกตรวจ
    วัน เวลา
    WED 17:00 - 20:00

    พญ.จุฑาทิพย์ งามวิเศษชัยกุล

    พญ.จุฑาทิพย์ งามวิเศษชัยกุล
    อายุรแพทย์โรคหัวใจ

    พญ.จุฑาทิพย์ งามวิเศษชัยกุล

    Juthathip Nyamvisetchaikul, M.D.
    Specialty
    • อายุรกรรมโรคหัวใจ
      Cardiovascular Medicine

    Language Spoken
    • อังกฤษ, ไทย

    ปริญญาบัตรและสถาบันการศึกษา
    • แพทยศาสตรบัณฑิต (พ.บ.) คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
    • อายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
    • อายุรศาสตร์โรคหัวใจ โรงพยาบาลศิริราช

    ตารางออกตรวจ
    วัน เวลา หมายเหตุ
    WED 09:00 - 15:00 สัปดาห์ที่ 1,3,5

    นพ.ดุษฏี จรัญวรากรชัย

    นพ.ดุษฏี จรัญวรากรชัย
    อายุรแพทย์

    นพ.ดุษฏี จรัญวรากรชัย

    DUTSADEE CHARUNVARAKORNCHAI, M.D.
    Specialty
    • อายุรกรรม
      Internal Medicine

    Language Spoken
    • อังกฤษ, ไทย

    ปริญญาบัตรและสถาบันการศึกษา
    • แพทยศาสตรบัณฑิต (พ.บ.) เกียรตินิยมอันดับ 1 คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลพระมงกุเกล้า
    • วุฒิบัตรอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลพระมงกุเกล้า
    ตารางออกตรวจ
    วัน เวลา
    SUN 17:00 - 20:00

    พญ.นุจจรินทร์ กำจรจิระพันธ์

    พญ.นุจจรินทร์ กำจรจิระพันธ์
    อายุรแพทย์

    พญ.นุจจรินทร์ กำจรจิระพันธ์

    NUTCHARIN KAMJOHNJIRAPHUN, M.D.
    Specialty
    • อายุรกรรม

    Language Spoken
    • อังกฤษ, ไทย

    ปริญญาบัตรและสถาบันการศึกษา
    • แพทยศาสตรบัณฑิต (พ.บ.)  คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
    • วุฒิบัตรอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช
    ตารางออกตรวจ
    วัน เวลา
    SUN 08:00 - 16:00