ทพญ.ภัสสร บุญธีรวร

ทพญ.ภัสสร บุญธีรวร
ทันตกรรมประดิษฐ์

ทพญ.ภัสสร บุญธีรวร

Passorn Boontherawara DDS. MSc.
Specialty
  • เดือยฟัน ครอบฟัน (Post and core with crown)
  • วีเนียร์เพื่อความสวยงาม (Veneers)
  • รากเทียม (Implant)
  • ฟันปลอมถอดได้ทุกชนิด (Removable Denture)

Language Spoken
  • อังกฤษ, ไทย

ปริญญาบัตรและสถาบันการศึกษา
  • ปริญญาตรี ทันตแพทยศาสตร์บัณฑิต คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
  • ปริญญาโท สาขาทันตกรรมประดิษฐ์ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ตารางออกตรวจ
วัน เวลา
SUN 10:00 - 18:00

พญ.เสาวนีย์ แสงอรุณ

พญ.เสาวนีย์ แสงอรุณ
กุมารแพทย์ทั่วไป

พญ.เสาวนีย์ แสงอรุณ

Saowanee Sangaroon.MD
Specialty
  • กุมารแพทย์ทั่วไป

Language Spoken
  • อังกฤษ, ไทย

ปริญญาบัตรและสถาบันการศึกษา
  • ปริญญาบัตร (พบ.) แพทยศาสตรบัณฑิต (พ.บ.) คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
  • วุฒิบัตรกุมารแพทย์  คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 

ตารางออกตรวจ
วัน เวลา หมายเหตุ
MON 11:00 - 17:00
TUE 08:00 - 17:00
WED 07:00 - 15:00
THU 12:00 - 20:00
FRI 08:00 - 16:00
SAT 08:00 - 17:00 (เสาร์ที่ 2, 4)
SUN 10:00 - 15:00

พญ.นันทนัช หรูตระกูล

พญ.นันทนัช หรูตระกูล
ภูมิแพ้และภูมิคุ้มกัน, Pediatric allergist and immunologist

พญ.นันทนัช หรูตระกูล

Nuntanut Rutrakool
Specialty
  • กุมารแพทย์
  • โรคภูมิแพ้และอิมมูโนวิทยา

Language Spoken
  • อังกฤษ, ไทย

ปริญญาบัตรและสถาบันการศึกษา
  • ปริญญาบัตร (พบ.) แพทยศาสตรบัณฑิต (พ.บ.) คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศิริราช มหิดล
  • วุฒิบัตร กุมารเวชศาสตร์ ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
  • วุฒิบัตร อนุสาขากุมารเวชศาสตร์ โรคภูมิแพ้และอิมมูโนวิทยา ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

ตารางออกตรวจ
วัน เวลา
MON 08:00 - 13:00
TUE 08:00 - 20:00
SAT 08:00 - 13:00

พญ.ปัทมา พรวรากรณ์

พญ.ปัทมา พรวรากรณ์
วิสัญญีแพทย์

พญ.ปัทมา พรวรากรณ์

Pattama Pornwaragorn
Specialty
  • วิสัญญีแพทย์

Language Spoken
  • อังกฤษ, ไทย

ปริญญาบัตรและสถาบันการศึกษา
  • ปริญญาบัตร (พบ.) แพทยศาสตรบัณฑิต คณะแพทยศาสตร์ มหิดล  สถาบันพระบรมราชชนก
  • วิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์รามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล

ตารางออกตรวจ
วัน เวลา
MON 06:00 - 18:00
TUE 06:00 - 18:00
THU 06:00 - 18:00
FRI 06:00 - 18:00

ผศ.ดร.นพ.พีรยุทธ เฟื่องฟุ้ง

ผศ.ดร.นพ.พีรยุทธ เฟื่องฟุ้ง
นิติเวชศาสตร์

ผศ.ดร.นพ. พีรยุทธ เฟื่องฟุ้ง

Assist. Prof. Dr. Peerayuht Phuangphung
Specialty
  • นิติเวชศาสตร์ Forensic Medicine

Language Spoken
  • อังกฤษ, ไทย

ปริญญาบัตรและสถาบันการศึกษา
  • ปริญญาบัตร  แพทยศาสตรบัณฑิต (พ.บ.) (เกียรตินิยม) คณะแพทยศาสตร์  มหาวิทยาลัยมหิดล
  • ปริญญาบัตร ทางนิติศาสตร์ สาขาวิชานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
  • ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก (วิชาเอกนิติเวชศาสตร์)
  • วุฒิบัตร สาขานิติเวชศาสตร์  มหาวิทยาลัยมหิดล
    • Ph.D. (Toxicology) University of Glasgow, UK
      M.Sc. (Forensic Toxicology) (Distinction) University of Glasgow, UK

    ตารางออกตรวจ
    วัน เวลา หมายเหตุ
    MON 18:00 - 20:00

    นพ.ธีรเศรษฐ์ บัณฑุชัย

    นพ.ธีรเศรษฐ์ บัณฑุชัย
    ศัลยกรรมกระดูกและช้อ / เวชศาสตร์การกีฬา

    นพ.ธีรเศรษฐ์ บัณฑุชัย

    THEERASET BANTUCHAI, MD
    Specialty
    • ศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ 
    • เวชศาสตร์การกีฬา และการผ่าตัดส่องกล้อง (Sport medicine)

    Language Spoken
    • อังกฤษ, ไทย

    ปริญญาบัตรและสถาบันการศึกษา
    • ปริญญาบัตร แพทยศาสตรบัณฑิต (พ.บ.) (เกียรตินิยมอันดับ 2) คณะแพทย์ศาสตร์  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
    • วุฒิบัตร สาขาออร์โธปิดิกส์ คณะแพทย์ศาสตร์  วิทยาลัยแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า 
    • อนุมัติบัตร สาขาเวชศาสตร์การกีฬา คณะแพทย์ศาสตร์  วิทยาลัยแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า
    ตารางออกตรวจ
    วัน เวลา
    MON 07:00 - 17:00
    TUE 07:00 - 12:00
    WED 07:00 - 15:00
    FRI 07:00 - 20:00
    SUN 12:00 - 16:00

    นพ.ชุมพล สุรพันธ์ไพโรจน์

    นพ.ชุมพล สุรพันธ์ไพโรจน์
    จิตแพทย์

    นพ.ชุมพล สุรพันธ์ไพโรจน์

    CHUMPOL SURAPHANPHAIROJ.M.D
    Specialty
    • จิตเวชศาสตร์
      จิตเวชทั่วไปในผู้ป่วยผู้ใหญ่ (General Psychiatry)

    Language Spoken
    • อังกฤษ, ไทย

    ปริญญาบัตรและสถาบันการศึกษา
    • ปริญญาบัตร แพทยศาสตรบัณฑิต (พ.บ.) (เกียรตินิยมอันดับ 1) คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย   
    • วุฒิบัตรสาขาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ ราชวิทยาลัยจิตแพทย์แห่งประเทศไทย

    ตารางออกตรวจ
    วัน เวลา
    TUE 17:00 - 20:00

    พญ.อรอัญญา เพียรพิทยากุล

    พญ.อรอัญญา เพียรพิทยากุล
    Obstetrics and Gynecology

    พญ.อรอัญญา เพียรพิทยากุล

    ON-ANYA PHIANPHITTHAYAKUL, M.D.
    Specialty
    • Obstetrics and Gynecology

    Language Spoken
    • อังกฤษ, ไทย

    ปริญญาบัตรและสถาบันการศึกษา
    • ปริญญาบัตร แพทยศาสตรบัณฑิต (พ.บ.) คณะแพทย์ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
    • สูติศาสตร์นรีเวชวิทยา คณะแพทย์ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

    ตารางออกตรวจ
    วัน เวลา หมายเหตุ
    THU 09:00 - 12:00 คลินิกสุขภาพสตรี

    ตรวจคัดกรองความเสี่ยงหลอดเลือดสมอง

    ตรวจคัดกรองความเสี่ยงหลอดเลือดสมอง

    MRI and MRA Brain Screening

    ตรวจคัดกรองความเสี่ยงหลอดเลือดสมอง : 10,100.-

    MRI and MRA Brain Screening


    ตรวจสุขภาพ 13 รายการ

    ผู้ที่มีความเสี่ยงโรค
    ความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูง ความอ้วน โรคหัวใจ อายุที่มากขึ้น ภาวะหยุดหายใจขณะหลับ บุหรี่ แอลกอฮอล์ โคเคน แอมเฟตามีน การดำเนินชีวิต ที่ไม่ค่อยมีการเคลื่อนที่ หรือออกกำลังกาย

    ตรวจคัดกรองความเสี่ยงหลอดเลือดสมอง

    MRI and MRA Brain Screening
    โรคหลอดเลือดสมอง (stroke)
    โรคหลอดเลือดสมอง (stroke) คือ ภาวะที่เลือดไม่สามารถไหลเวียนไปเลี้ยงสมองได้ ทำให้สมองขาดเลือดและออกซิเจน ไปเลี้ยงเนื่องจากหลอดเลือดตีบ หลอดเลือดอุดตัน หรือหลอดเลือดแตก ส่งผลให้เนื้อเยื่อในสมองถูกทำลาย การทำงานของสมองหยุดชะงัก หากไม่ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงทีจะทำให้เซลล์สมองค่อย ๆ ตายลง
    ปัจจัยเสี่ยงของโรคหลอดเลือดสมอง
    • ความดันโลหิตสูง
    • เบาหวาน
    • ไขมันในเลือดสูง
    • ความอ้วน
    • โรคหัวใจ
    • อายุที่มากขึ้น
    • ภาวะหยุดหายใจขณะหลับ
    • บุหรี่
    • แอลกอฮอล์
    • โคเคน
    • แอมเฟตามีน
    • การดำเนินชีวิต
    • ที่ไม่ค่อยมีการเคลื่อนที่หรือออกกำลังกาย
    สามารถตรวจได้โดย การตรวจสมองด้วยเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (CT Scan) หรือ การตรวจสมองด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI Scan) การตรวจ CT Scan จะช่วยวินิจฉัยแยกโรคสมองขาดเลือดกับโรคเลือดออกในสมองได้ โดยที่ใช้เวลาในการทำน้อยกว่า MRI Scan ทำให้ผู้ป่วยได้รับการรักษาที่รวดเร็ว ส่วนการตรวจ MRI Scan จะมีความไวในการตรวจสมองขาดเลือดในระยะแรกๆ มากกว่าการทำ CT Scan และสามารถช่วยวินิจฉัยแยกโรคสมองขาดเลือดกับโรคเลือดออกในสมองได้เช่นกัน
    การคัดกอรงความเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองสิ่งจำเป็น เพื่อสำรวจความผิดปกติ หรือมีความบกพร่องของสมอง เพื่อจะได้รักษา ป้องกัน หรือ ผ่อนหนักให้เป็นเบา หากมีการดูแลอย่างดี ตรวจสอบหาข้อบกพร่อง และแก้ไขแต่ระยะต้นๆ ร่างกายก็จะอยู่กับเราได้นานขึ้น และมีคุณภาพชีวิตที่ดี
    โปรแกรมตรวจคัดกรองความเสี่ยงหลอดเลือดสมอง
    ตรวจร่างกายทั่วไปโดยอายุรแพทย์ระบบประสาทและสมอง
    Physical Examination
    ตรวจวัดความดันโลหิต, ชีพจร
    BP, Pulse
    ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด
    CBC
    ตรวจหาระดับน้ำตาลในเลือด
    FBS
    ตรวจหาระดับน้ำตาลสะสมในเลือด
    HbA1C
    ตรวจสมรรถภาพการทำงานของตับ
    SGPT
    ตรวจสมรรถภาพการทำงานของไต
    Creatinine
    ตรวจหาระดับไขมันในเลือด
    Cholesterol
    ตรวจหาระดับไขมันในเลือด
    Triglyceride
    ตรวจหาระดับไขมันชนิดดีในเลือด
    HDL
    ตรวจหาระดับไขมันชนิดไม่ดีในเลือด
    LDL
    ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
    Electrocardiogram (EKG)
    ตรวจหลอดเลือดสมองด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
    MRI and MRA Brain Screening
    10,100.-
    เงื่อนไขการใช้บริการ
    • รวมค่าแพทย์และค่่าบริการ
    • กรุณางดน้ำและอาหารอย่างน้อย 10 - 12 ชั่วโมง ก่อนเข้ารับการตรวจ
    วันนี้ - 31 มีนาคม 2568

    โปรแกรมและแพ็คเกจ

    พญ.วรรณสิริ คุปต์นิรัติศัยกุล

    พญ.วรรณสิริ คุปต์นิรัติศัยกุล
    จุลยศาสตร์และศัลยกรรมทางมือ

    พญ.วรรณสิริ คุปต์นิรัติศัยกุล

    VANASIRI KUPTNIRATSAIKUL, MD.
    Specialty
    • จุลยศาสตร์และศัลยกรรมทางมือ
      Hand Orthopedic & Microsurgery

    Language Spoken
    • อังกฤษ, ไทย

    ปริญญาบัตรและสถาบันการศึกษา
    • ปริญญาบัตร แพทยศาสตรบัณฑิต (พ.บ.) คณะแพทย์ศาสตร์  ศิริราชพยาบาล
    • วุฒิบัตรสาขาออร์โธปิดิกส์ คณะแพทย์ศาสตร์ โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา
    • ประกาศนียบัตร ออร์โธปิดิกส์ อนุสาขาศัลยกรรมทางมือและจุลยศัลยกรรม คณะแพทย์ศาสต  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

    ตารางออกตรวจ
    วัน เวลา
    SAT 14:00 - 17:00

    ข้อดี ที่ควรรู้ ก่อนตรวจมะเร็งปากมดลูก HPV testing

    ข้อดี ที่ควรรู้ ก่อนตรวจมะเร็งปากมดลูก

    Benefit of HPV testing
    ถาม เชื้อไวรัส HPV (Human papillomavirus) คืออะไร
    ตอบ HPV เป็นเชื้อไวรัสที่มีหลายสายพันธุ์ โดยเฉพาะในกลุ่ม สายพันธุ์ 16, 18, 31, 33, 45, 52 และ 58 ซึ่งถือเป็นกลุ่มที่เป็นสาเหตุของมะเร็ง เชื้อไวรัส HPV สามารถติดต่อได้ทางเพศสัมพันธ์ โดย 90 % ของการติดเชื้อไวรัส HPV สามารถหายเองได้ แต่ในบางกลุ่มหากการติดเชื้อเป็นอยู่ถาวร อาจนำไปสู่รอยโรคระยะก่อนเป็นมะเร็ง มะเร็งปากมดลูก มะเร็งที่อวัยวะเพศ/ช่องคลอด/ทวารหนัก หรือมะเร็งบริเวณหลอดอาหาร นอกจากนี้ยังมีสายพันธุ์ที่ก่อให้เกิดหูดหงอนไก่ได้ คือ สายพันธุ์ 6 และ 11

    โดย 90 % ของการติดเชื้อไวรัส HPV สามารถหายเองได้ แต่ในบางกลุ่มหากการติดเชื้อเป็นอยู่ถาวร อาจนำไปสู่รอยโรคระยะก่อนเป็นมะเร็ง หรือมะเร็งกลุ่มข้างต้นได้

    ถาม เชื้อไวรัส HPV (Human papillomavirus) ส่งผลต่อเราอย่างไร
    ตอบ เชื้อไวรัส HPV เป็นสาเหตุที่ก่อให้เกิดมะเร็งปากมดลูกหรือมะเร็งช่องทวารหนักได้ร้อยละ 90 จากการรายงานพบว่ามะเร็งปากมดลูกเป็นสาเหตุสูงสุดอันดับที่ 4 ของมะเร็งในสตรี โดยการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกสามารถลดอุบัติการณ์การเกิดหรือความรุนแรงของมะเร็งปากมดลูกได้

    ปัจจุบันองค์การอนามัยโลกมีเป้าหมายลดอุบัติการณ์การเกิดมะเร็งปากมดลูกแบบ 90:70:90 คือ ครอบคลุมการฉีดวัคซีนป้องกันเชื้อไวรัสเอชพีวีร้อยละ 90 ครอบคลุมการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกร้อยละ 70 และรักษามะเร็งปากมดลูกระยะก่อนมะเร็งได้ร้อยละ 90 ภายในปี พ.ศ. 2573 โดยแนะนำให้เพิ่มความครอบคลุมการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกโดยวิธีการตรวจเชื้อไวรัสเอชพีวีด้วยตนเอง (HPV self-collection) จะสามารถเพิ่มโอกาสการเข้าถึงการ คัดกรองมะเร็งปากมดลูกได้มากขึ้นจนถึงร้อยละ 70 ตามเป้าหมาย

    ถาม การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในยุคปัจจุบัน
    ตอบ องค์การอนามัยโลก ได้แนะนำการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ดังนี้

    1. การตรวจสารพันธุกรรมเชื้อไวรัสเอชพีวี (HPV DNA/mRNA testing, HPV Nucleic Acid Amplification Tests: NAATs)
    2. การตรวจคัดกรองด้วยน้ำส้มสายชูและดูด้วยตาเปล่า (Visual inspection: VIA)
    3. การตรวจทางเซลล์วิทยาปากมดลูก (Pap smear/ liquid-based cytology)
    สำหรับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกแบบปฐมภูมิ (Primary HPV testing) หรือการตรวจสารพันธุกรรมเชื้อไวรัสเอชพีวี มีความไวและความจำเพาะที่สูงในการตรวจหารอยโรคตั้งแต่ระยะก่อนเป็นมะเร็งปากมดลูก และได้รับการรับรองจากองค์การอาหารและยาสหรัฐอเมริกา (US-FDA) ว่าเป็นวิธีหนึ่งในการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหญิงที่อายุมากกว่า 25 ปี
    สำหรับประเทศไทยมีรายงานการเข้าถึงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกร้อยละ 30-60 เท่านั้น โดยใช้การคัดกรองด้วยเซลล์วิทยา และการตรวจคัดกรองด้วยน้ำสมสายชู และการดูด้วยตาเปล่า (VIA) เป็นหลัก
    โดยสาเหตุที่ทำให้การเข้าถึงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในประเทศไทยมีอัตราต่ำเกิดจากทัศนคติว่าตนเองไม่มีความเสี่ยงของโรค ความเข้าใจผิดเกี่ยวกับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ความกลัวหรือรู้สึกเขินอายจากการตรวจภายใน

    ถาม ประโยชน์ของการตรวจสารพันธุกรรมเชื้อไวรัสเอชพีวี (Primary HPV testing)
    ตอบจากปัจจุบันมี งานวิจัยจำนวนมากพบว่าการตรวจสารพันธุกรรมเชื้อไวรัสเอชพีวี (primary HPV testing) มีประสิทธิภาพสูงกว่าการตรวจทางเซลล์วิทยา (cervical cytology) ในการตรวจหารอยโรคก่อนมะเร็งปากมดลูก นอกจากนี้ยังช่วยลดอุบัติการณ์ และการเสียชีวิตของสตรีจากมะเร็งปากมดลูกลงได้อย่างมีนัยสำคัญ นอกจากนี้การตรวจสารพันธุกรรมเชื้อไวรัสเอชพีวีหากพบผลปกติ สามารถตรวจติดตามทุก 5 ปี จึงพบว่ามีความคุ้มทุนมากกว่าการตรวจทางเซลล์วิทยาที่ต้องตรวจติดตาม ทุก 3 ปี

    โปรแกรมและแพ็คเกจ

    พญ.ภัทริน บุญนำ

    พญ.ภัทริน บุญนำ
    แพทย์เวชปฏบัติทั่วไป

    พญ.ภัทริน บุญนำ

    PATTARIN BOONNAM, M.D.
    Specialty
    • แพทย์เวชปฏบัติทั่วไป

    Language Spoken
    • อังกฤษ, ไทย

    ปริญญาบัตรและสถาบันการศึกษา
    • แพทยศาสตรบัณฑิต (พ.บ.) (เกียรตินิยมอันดับ 1) คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
    • แพทย์เวชปฏบัติทั่วไป สถาบันมะเร็งแห่งชาติ

    ตารางออกตรวจ
    วัน เวลา
    WED 07:00 - 21:00