พญ.วรกัญญา สินิทธ์ทรงคุณ

พญ.วรกัญญา สินิทธ์ทรงคุณ
กุมารแพทย์

พญ.วรกัญญา สินิทธ์ทรงคุณ

WORAKANYA SINITSONGKHUN
Specialty
  • โรคภูมิแพ้และภูมิคุ้มกันเด็ก

Language Spoken
  • อังกฤษ, ไทย

ปริญญาบัตรและสถาบันการศึกษา
  • แพทยศาสตรบัณฑิต (พ.บ.) คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • วุฒิบัตรกุมารเวชศาสตร์ ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลพระมงกุฏเกล้า

ตารางออกตรวจ
วัน เวลา หมายเหตุ
SAT 08:00 - 12:00 วันเสาร์ที่ 2, 4

พญ.อรอัญญา เพียรพิทยากุล

พญ.อรอัญญา เพียรพิทยากุล
Obstetrics and Gynecology

พญ.อรอัญญา เพียรพิทยากุล

ON-ANYA PHIANPHITTHAYAKUL, M.D.
Specialty
  • Obstetrics and Gynecology

Language Spoken
  • อังกฤษ, ไทย

ปริญญาบัตรและสถาบันการศึกษา
  • สูติศาสตร์นรีเวชวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ตารางออกตรวจ
วัน เวลา หมายเหตุ
THU 09:00 - 13:00 คลินิกสุขภาพสตรี
SAT 09:00 - 14:00 ศูนยNตรวจสุขภาพ

พญ.วรรณสิริ คุปต์นิรัติศัยกุล

พญ.วรรณสิริ คุปต์นิรัติศัยกุล
จุลยศาสตร์และศัลยกรรมทางมือ

พญ.วรรณสิริ คุปต์นิรัติศัยกุล

VANASIRI KUPTNIRATSAIKUL, MD.
Specialty
  • จุลยศาสตร์และศัลยกรรมทางมือ
    Hand Orthopedic & Microsurgery

Language Spoken
  • อังกฤษ, ไทย

ปริญญาบัตรและสถาบันการศึกษา
  • ปริญญาบัตร (พบ.) แพทยศาสตรบัณฑิต (พ.บ.) คณะแพทย์ศาสตร์  ศิริราชพยาบาล
  • วุฒิบัตรสาขาออร์โธปิดิกส์ คณะแพทย์ศาสตร์ โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา
  • ประกาศนียบัตร ออร์โธปิดิกส์ อนุสาขาศัลยกรรมทางมือและจุลยศัลยกรรม คณะแพทย์ศาสต  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ตารางออกตรวจ
วัน เวลา
SAT 14:00 - 17:00

ข้อดี ที่ควรรู้ ก่อนตรวจมะเร็งปากมดลูก HPV testing

ข้อดี ที่ควรรู้ ก่อนตรวจมะเร็งปากมดลูก

Benefit of HPV testing
ถาม เชื้อไวรัส HPV (Human papillomavirus) คืออะไร
ตอบ HPV เป็นเชื้อไวรัสที่มีหลายสายพันธุ์ โดยเฉพาะในกลุ่ม สายพันธุ์ 16, 18, 31, 33, 45, 52 และ 58 ซึ่งถือเป็นกลุ่มที่เป็นสาเหตุของมะเร็ง เชื้อไวรัส HPV สามารถติดต่อได้ทางเพศสัมพันธ์ โดย 90 % ของการติดเชื้อไวรัส HPV สามารถหายเองได้ แต่ในบางกลุ่มหากการติดเชื้อเป็นอยู่ถาวร อาจนำไปสู่รอยโรคระยะก่อนเป็นมะเร็ง มะเร็งปากมดลูก มะเร็งที่อวัยวะเพศ/ช่องคลอด/ทวารหนัก หรือมะเร็งบริเวณหลอดอาหาร นอกจากนี้ยังมีสายพันธุ์ที่ก่อให้เกิดหูดหงอนไก่ได้ คือ สายพันธุ์ 6 และ 11

โดย 90 % ของการติดเชื้อไวรัส HPV สามารถหายเองได้ แต่ในบางกลุ่มหากการติดเชื้อเป็นอยู่ถาวร อาจนำไปสู่รอยโรคระยะก่อนเป็นมะเร็ง หรือมะเร็งกลุ่มข้างต้นได้

ถาม เชื้อไวรัส HPV (Human papillomavirus) ส่งผลต่อเราอย่างไร
ตอบ เชื้อไวรัส HPV เป็นสาเหตุที่ก่อให้เกิดมะเร็งปากมดลูกหรือมะเร็งช่องทวารหนักได้ร้อยละ 90 จากการรายงานพบว่ามะเร็งปากมดลูกเป็นสาเหตุสูงสุดอันดับที่ 4 ของมะเร็งในสตรี โดยการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกสามารถลดอุบัติการณ์การเกิดหรือความรุนแรงของมะเร็งปากมดลูกได้

ปัจจุบันองค์การอนามัยโลกมีเป้าหมายลดอุบัติการณ์การเกิดมะเร็งปากมดลูกแบบ 90:70:90 คือ ครอบคลุมการฉีดวัคซีนป้องกันเชื้อไวรัสเอชพีวีร้อยละ 90 ครอบคลุมการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกร้อยละ 70 และรักษามะเร็งปากมดลูกระยะก่อนมะเร็งได้ร้อยละ 90 ภายในปี พ.ศ. 2573 โดยแนะนำให้เพิ่มความครอบคลุมการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกโดยวิธีการตรวจเชื้อไวรัสเอชพีวีด้วยตนเอง (HPV self-collection) จะสามารถเพิ่มโอกาสการเข้าถึงการ คัดกรองมะเร็งปากมดลูกได้มากขึ้นจนถึงร้อยละ 70 ตามเป้าหมาย

ถาม การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในยุคปัจจุบัน
ตอบ องค์การอนามัยโลก ได้แนะนำการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ดังนี้

  1. การตรวจสารพันธุกรรมเชื้อไวรัสเอชพีวี (HPV DNA/mRNA testing, HPV Nucleic Acid Amplification Tests: NAATs)
  2. การตรวจคัดกรองด้วยน้ำส้มสายชูและดูด้วยตาเปล่า (Visual inspection: VIA)
  3. การตรวจทางเซลล์วิทยาปากมดลูก (Pap smear/ liquid-based cytology)
สำหรับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกแบบปฐมภูมิ (Primary HPV testing) หรือการตรวจสารพันธุกรรมเชื้อไวรัสเอชพีวี มีความไวและความจำเพาะที่สูงในการตรวจหารอยโรคตั้งแต่ระยะก่อนเป็นมะเร็งปากมดลูก และได้รับการรับรองจากองค์การอาหารและยาสหรัฐอเมริกา (US-FDA) ว่าเป็นวิธีหนึ่งในการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหญิงที่อายุมากกว่า 25 ปี
สำหรับประเทศไทยมีรายงานการเข้าถึงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกร้อยละ 30-60 เท่านั้น โดยใช้การคัดกรองด้วยเซลล์วิทยา และการตรวจคัดกรองด้วยน้ำสมสายชู และการดูด้วยตาเปล่า (VIA) เป็นหลัก
โดยสาเหตุที่ทำให้การเข้าถึงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในประเทศไทยมีอัตราต่ำเกิดจากทัศนคติว่าตนเองไม่มีความเสี่ยงของโรค ความเข้าใจผิดเกี่ยวกับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ความกลัวหรือรู้สึกเขินอายจากการตรวจภายใน

ถาม ประโยชน์ของการตรวจสารพันธุกรรมเชื้อไวรัสเอชพีวี (Primary HPV testing)
ตอบจากปัจจุบันมี งานวิจัยจำนวนมากพบว่าการตรวจสารพันธุกรรมเชื้อไวรัสเอชพีวี (primary HPV testing) มีประสิทธิภาพสูงกว่าการตรวจทางเซลล์วิทยา (cervical cytology) ในการตรวจหารอยโรคก่อนมะเร็งปากมดลูก นอกจากนี้ยังช่วยลดอุบัติการณ์ และการเสียชีวิตของสตรีจากมะเร็งปากมดลูกลงได้อย่างมีนัยสำคัญ นอกจากนี้การตรวจสารพันธุกรรมเชื้อไวรัสเอชพีวีหากพบผลปกติ สามารถตรวจติดตามทุก 5 ปี จึงพบว่ามีความคุ้มทุนมากกว่าการตรวจทางเซลล์วิทยาที่ต้องตรวจติดตาม ทุก 3 ปี

โปรแกรมและแพ็คเกจ

Baby Delivery Package

Normal Delivery Pack […]

PACKAGE ฝังยาคุมกำเนิด

แพ็กเกจฝังยาคุมกำเนิ […]

ตรวจโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ STD

ตรวจโรคติดต่อทางเพศส […]

พญ.ภัทริน บุญนำ

พญ.ภัทริน บุญนำ
แพทย์เวชปฏบัติทั่วไป

พญ.ภัทริน บุญนำ

PATTARIN BOONNAM, M.D.
Specialty
  • แพทย์เวชปฏบัติทั่วไป

Language Spoken
  • อังกฤษ, ไทย

ปริญญาบัตรและสถาบันการศึกษา
  • แพทยศาสตรบัณฑิต (พ.บ.) (เกียรตินิยมอันดับ 1) คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
  • แพทย์เวชปฏบัติทั่วไป สถาบันมะเร็งแห่งชาติ

ตารางออกตรวจ
วัน เวลา
WED 07:00 - 21:00

นพ.เหรียญชัย นามมนตรี

นพ.เหรียญชัย นามมนตรี
ศัลยแพทย์กระดูกและข้อ

นพ.เหรียญชัย นามมนตรี

RIANCHAI NAMMONTREE , M.D.
Specialty
  • ศัลยกรรมกระดูกและข้อ

Language Spoken
  • อังกฤษ, ไทย

ปริญญาบัตรและสถาบันการศึกษา
  • แพทยศาสตรบัณฑิต (พ.บ.) คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • วุฒิบัตรศัลยศาตร์ออร์โอปิดิกส์ สถาบันราชวิถี กรมการแพทย์

ตารางออกตรวจ
วัน เวลา
SUN 13:00 - 16:00

นพ.เลอสรรพ์ ลือสุทธิวิบูลย์

นพ.เลอสรรพ์ ลือสุทธิวิบูลย์
อายุรแพทย์โรคไต

นพ.เลอสรรพ์ ลือสุทธิวิบูลย์

LERSAN LUESUTTHIVIBOON, M.D.
Specialty
  • อายุรแพทย์โรคไต Nephrology

Language Spoken
  • อังกฤษ, ไทย

ปริญญาบัตรและสถาบันการศึกษา
  • แพทยศาสตรบัณฑิต (พ.บ.) คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
  • วุฒิบัตร สาขาอายุรศาสตร์  คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า
  • วุฒิบัตรสาขาอายุรศาสตร์โรคไต คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า

ตารางออกตรวจ
วัน เวลา
SUN 10:00 - 12:00

นพ.พิสิษฐ์ จียาศักดิ์

นพ.พิสิษฐ์ จียาศักดิ์
รังสีวิทยาวินิจฉัย

นพ.พิสิษฐ์ จียาศักดิ์

PISIT CHIYASAK M.D
Specialty
  • รังสีวิทยาวินิจฉัย

Language Spoken
  • อังกฤษ, ไทย

ปริญญาบัตรและสถาบันการศึกษา
  • แพทยศาสตรบัณฑิต (พ.บ.) คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
  • วุฒิบัตร รังสีวิทยาวินิจฉัย คณะแพทย์ศาสตร์ โรงพยาบาลราชวิถี

ตารางออกตรวจ
วัน เวลา
MON 09:00 - 20:00
TUE 09:00 - 20:00
WED 09:00 - 20:00
THU 09:00 - 20:00
FRI 09:00 - 20:00
SAT 09:00 - 20:00

การเสียชีวิตกะทันหันจากโรคหัวใจในนักกีฬาวัยรุ่น

การเสียชีวิตกะทันหันจากโรคหัวใจในนักกีฬาวัยรุ่น

การเสียชีวิตกะทันหันจากโรคหัวใจในนักกีฬาวัยรุ่น
การเสียชีวิตกะทันหันจากโรคหัวใจเป็นภาวะที่หัวใจหยุดเต้นกะทันหันซึ่งเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วและไม่คาดคิด การหายใจและการไหลเวียนของเลือดหยุดลงทันที ภายในไม่กี่วินาที ผู้ป่วยจะหมดสติและเสียชีวิต
การเสียชีวิตกะทันหันจากโรคหัวใจในผู้ที่ดูเหมือนมีสุขภาพดีและมีอายุต่ำกว่า 35 ปีนั้นพบได้น้อย โดยพบได้บ่อยในผู้ชายมากกว่าผู้หญิง ส่วนมากเกิดจากโรคหัวใจที่ไม่ได้รับการวินิจฉัย เช่น โรคกล้ามเนื้อหัวใจห้องล่างซ้ายหนาตัวหรือหัวใจเต้นผิดจังหวะ ทางพันธุกรรม ซึ่งอาจทำให้คนหนุ่มสาวเสียชีวิตกะทันหันระหว่างทำกิจกรรมที่ต้องใช้แรง เช่น การแข่งขันกีฬา แต่การเสียชีวิตกะทันหันก็อาจเกิดขึ้นได้แม้ขณะที่พักหลับ
ภาวะหัวใจหยุดเต้นเฉียบพลันพบได้บ่อยเพียงใดในวัยรุ่น
ภาวะหัวใจหยุดเต้นเฉียบพลันส่วนใหญ่มักเกิดขึ้นในผู้สูงอายุ โดยเฉพาะผู้ที่มีโรคหัวใจ อย่างไรก็ตามภาวะหัวใจหยุดเต้นเฉียบพลันเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับต้นๆ ของนักกีฬาวัยรุ่น ในแต่ละปีมีนักกีฬาวัยรุ่นประมาณ 1 ใน 50,000-100,000 คน เสียชีวิตจากภาวะหัวใจหยุดเต้นเฉียบพลัน
อะไรเป็นสาเหตุของภาวะหัวใจหยุดเต้นเฉียบพลันในวัยรุ่น
การเปลี่ยนแปลงของคลื่นไฟฟ้าหัวใจมักทำให้เกิดภาวะหัวใจหยุดเต้นเฉียบพลัน การเต้นของหัวใจที่เร็วมากทำให้ห้องหัวใจด้านล่างบีบตัวอย่างรวดเร็วและไม่ประสานกัน หัวใจไม่สามารถสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงร่างกายได้ ภาวะหัวใจห้องล่างเต้นผิดจังหวะเป็นอันตรายถึงชีวิต ภาวะที่หัวใจทำงานหนักเกินไปหรือมีการทำลายเนื้อเยื่อหัวใจอาจเพิ่มความเสี่ยงต่อภาวะหัวใจหยุดเต้นเฉียบพลันได้
โรคที่อาจเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตจากภาวะหัวใจหยุดเต้นเฉียบพลันในวัยรุ่น ได้แก่:
  • โรคกล้ามเนื้อหัวใจหนาผิดปกติ ภาวะทางพันธุกรรมนี้เป็นสาเหตุที่พบบ่อยที่สุดของการเสียชีวิตจากภาวะหัวใจหยุดเต้นเฉียบพลันในวัยรุ่น การหนาขึ้นนี้ทำให้หัวใจสูบฉีดเลือดได้ยาก
  • กลุ่มอาการ QT ยาวแต่กำเนิด ภาวะนี้อาจทำให้หัวใจเต้นเร็วและผิดจังหวะ นำมาซึ่งอาการเป็นลมโดยไม่ทราบสาเหตุและการเสียชีวิตกะทันหัน โดยเฉพาะในคนอายุน้อย
  • ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะอื่นๆ เช่น กลุ่มอาการบรูกาดา และกลุ่มอาการวูล์ฟ-พาร์กินสัน-ไวท์
  • การถูกกระแทกที่หน้าอกอย่างรุนแรง การบาดเจ็บที่หน้าอกจากของแข็งซึ่งทำให้เกิดการเสียชีวิตจากภาวะหัวใจหยุด เต้นเฉียบพลัน เรียกว่า commotio cordis ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะอาจเกิดขึ้นในนักกีฬาที่ถูกอุปกรณ์กีฬา หรือผู้เล่นคนอื่นกระแทกเข้าที่หน้าอกอย่างแรง
การเสียชีวิตกะทันหันในวัยรุ่นสามารถป้องกันได้หรือไม่
  1. ควรเล่นกีฬาในศูนย์กีฬามาตรฐานที่มีเครื่องกระตุ้นหัวใจไฟฟ้าอัตโนมัติ (AED) เผื่อเหตุการณ์ฉุกเฉิน หากมีอาการหรือภาวะดังกล่าวข้างต้น
  2. แนะนำให้เข้ารับการตรวจคัดกรองที่แผนกอายุรกรรมเฉพาะทางโรคหัวใจ เพื่อตรวจหาโรคหัวใจที่อาจทำให้เกิดภาวะหัวใจหยุดเต้นเฉียบพลันได้
ใครควรได้รับการตรวจคัดกรอง
ผู้ที่มีอาการหรือภาวะต่างๆดังต่อไปนี้
  1. เป็นลม/หมดสติ โดยเฉพาะเมื่อเกิดขึ้นระหว่างทำกิจกรรมหรือออกกำลังกาย
  2. เจ็บหน้าอก
  3. มีประวัติครอบครัวเกิดภาวะหัวใจหยุดเต้นเฉียบพลัน

โปรแกรมและแพ็คเกจ

พญ.รัชพร ประภวานนท์

พญ.รัชพร ประภวานนท์
เวชศาสตร์ฟื้นฟู

พญ.รัชพร ประภวานนท์

RACHAPORN PRAPAVANOND M.D.
Specialty
  • เวชศาสตร์ฟื้นฟู
  • Neurorehabilitation, Musculoskeletal pain

Language Spoken
  • อังกฤษ, ไทย

ปริญญาบัตรและสถาบันการศึกษา
  • แพทยศาสตรบัณฑิต (พ.บ.) คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • วุฒิบัตรแพทยเวชศาสตร์ฟื้นฟู คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

ตารางออกตรวจ
วัน เวลา
SUN 13:00 - 17:00

พญ.ภัสสร โชคสมนึก

พญ.ภัคทิพา ภัทรโกศล
อายุรกรรมโรคเลือด

พญ.ภัสสร โชคสมนึก

PHATSORN CHOKSOMNUK, M.D.
Specialty
  • อายุรศาสตร์โลหิตวิทยา

Language Spoken
  • อังกฤษ, ไทย

ปริญญาบัตรและสถาบันการศึกษา
  • แพทยศาสตร์บัณฑิต (พ.บ.) คณะแพทยศาสตร์  มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์
  • วุฒิบัตร อายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
  • วว.อายุรศาสตร์โลหิตวิทยา คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหววิทยาลัยมหิดล

ตารางออกตรวจ
วัน เวลา
SUN 09:00 - 12:00

นพ.พงษ์สันต์ สุปรียธิติกุล

นพ.พงษ์สันต์ สุปรียธิติกุล
จักษุแพทย์,จักษุวิทยาเด็กและตาเหล่

นพ.พงษ์สันต์ สุปรียธิติกุล

PONGSANT SUPREEYATHITIKUL, M.D.
Specialty
  • จักษุวิทยา
  • จักษุวิทยาเด็กและตาเหล่

Language Spoken
  • อังกฤษ, ไทย

ปริญญาบัตรและสถาบันการศึกษา
  • ปริญญาบัตร แพทยศาสตรบัณฑิต (พ.บ.) (เกียรตินิยม อันดับ 2) คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • วุฒิบัตร จักษุวิทยาสาขาจักษุวิทยา คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • อนุสาขาจักษุวิทยาเด็กและตาเข  คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ตารางออกตรวจ
วัน เวลา
FRI 17:00 - 20:00